วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

กฎหมายที่เกี่ยวชุมชนชนเเละประเทศ

กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปัจเจกชนในรูปแบบต่างๆ มานานรับจากประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็นอ่านเพิ่มเติม


การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ

ความล้มเหลวของระบบประชาธิปไตย โดยผู้แทนได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวิชาการจึงได้เสนอทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตยโดยผู้แทน โดยการเสนอระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมาทดแทน อ่านเพิ่มเติม

การเเลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 

อ่านเพิ่มเติม

สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 26 ถึง 69  อ่านเพิ่มเติม

ข้อตกลงระหว่างประเทศ

แผนปฏิบัติการเกี่ยวกับชั้นโอโซน
ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ    

(United Nations Environment Programme, UNEP) ซึ่งได้จัดตั้งคณะกรรมการประสานงานเรื่องชั้นโอโซน
  อ่านเพิ่มเติม

สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญของไทย นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ปัญหาสำคัญ
ประการหนึ่งในระบบการเมืองไทย คือ ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองประเทศ ดังจะเห็นได้ว่ามีการ

 อ่านเพิ่มเติม

คุณลักษณะของพลเมืองดี

 1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม
เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงอ่านเพิ่มเติม

การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาสังคมไทย



    1.จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การเปลี่ยนเป็นสังคมเมือง การเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม การเป็นค่านิยมใหม่ ๆ ทำให้เกิดปัญหาสังคมขึ้น
    2.
    เกิดจากสมาชิกในสังคมบางกลุ่มไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่สังคมวางไว้ เช่น เกิดความขัดแย้งระหว่างกฎเกณฑ์กับความ  อ่านเพิ่มเติม

    การขัดเกลาทางสังคม

     คำจำกัดความ เป็นกระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยา ซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคม
    ต้องการ เด็กที่เกิดมาจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนให้เป็นสมาชิกที่สมบูรณ์ของสังคม สามารถอยู่
    ร่วมและมีความสัมพันธ์กับคนอื่นได้อย่างราบรื่นอ่านเพิ่มเติม

    วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558

    ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

    ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นข้ามขอบเขตของกลุ่มสังคมการเมืองหนึ่ง ๆ ในกรณีความสัมพันธ์ระหว่างคนไทยด้วยกัน หรือกลุ่มคนไทยด้วยกันในประเทศไทย ไม่ใช่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 
    อ่านเพิ่มเติม

    สิทธิมนุษยชน

     สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศอ่านเพิ่มเติม

    กฎหมาย

    กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ กติกา หรือ มาตรฐานที่ใช้เป็นแนวทางพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันในสังคม เพื่อให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติตาม โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากบุคคลอื่น ด้วยเหตุที่กฎหมายมีสภาพบังคับ ทำให้สมาชิกในสังคมทุกคนจะต้องรู้กฎหมาย ผู้ใดจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ อ่านเพิ่มเติม

    การปกครอง ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

    การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

    1. ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตย
    2. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
    3. ประเทศไทยเป็นเอกรัฐ ราชอาณาจักรเดียว พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ  อ่านเพิ่มเติม

    พลเมืองดี


    2. คุณลักษณะพลเมืองดี คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้
    1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย

     

     


    การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

    (Social and Cultural Change)



    เป็นที่ยอมรับว่า สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ไม่มีอะไรคงที่
    (static) มีการเคลื่อนไหว (dynamic) อยู่เสมอ สังคมและวัฒนธรรมก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน คือ เป็นพลวัตหรือไม่คงที่ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้โครงสร้างของสังคมและวิถีการดำรงชีวิตหรือวัฒนธรรมของมนุษย์ในแต่ละสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ไม่มีสังคมใดหยุดอยู่กับที่โดยแท้จริง อ่านเพิ่มเติม